อุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน / Hearing Protection
EP-106 ที่ครอบหู NRR23dB รุ่น EP-106 / NRR23dB Ear Muff
EP-107 ที่ครอบหู NRR27dB รุ่น EP-107 / NRR27dB Ear Muff
EP-108 ที่ครอบหู NRR29dB รุ่น EP-108 / NRR29dB Ear Muff
EP-109 ที่ครอบหู NRR26dB รุ่น EP-109 / NRR26dB Ear Muff
EP-167 ที่ครอบหู NRR26dB ชนิดประกอบหมวกนิรภัย รุ่น EP-167/ NRR26dB Helmet Ear Muff
EP-168 ที่ครอบหู NRR23dB ชนิดประกอบหมวกนิรภัย รุ่น EP-168/ NRR23dB Helmet Ear Muff
EP-535 ปลั๊กอุดหู ชนิดซิลิโคน NRR25dB มีสาย / NRR25dB Silicone Ear Plug
3M-1100 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR29dB ไม่มีสาย / NRR29dB Foam Ear Plug
3M-1110 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR29dB มีสาย
NRR29dB Corded Foam Ear Plug
QD-30 ปลั๊กอุดหู ชนิดยางสังเคราะห์ NRR26dB มีสาย / NRR26dB Corded Synthetic Rubber Ear Plug
QD-1 ปลั๊กอุดหู ชนิดยางสังเคราะห์ NRR26dB มีสาย / NRR26dB Corded Synthetic Rubber Ear Plug
311-1250 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR33dB สีเหลืองสะท้อนแสง มีสาย / NRR33dB Corded Foam Ear Plug
312-1250 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR33dB สีเหลืองสะท้อนแสงไม่มีสาย / NRR33dB Foam Ear Plug
311-1254 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR33dB แบบลาย มีสาย / NRR33dB Corded Foam Ear Plug
311-1256 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR33dB แบบลาย ไม่มีสาย / NRR33dB Foam Ear Plug
311-1115 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม แบบมีก้านจับ รวมสี NRR25dB มีสาย / NRR25dB Corded Foam Ear Plug
321-2200 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม แบบมีก้านจับ รวมสี NRR25dB ไม่มีสาย / NRR25dB Foam Ear Plug
6845 ปลั๊กอุดหู ชนิดโฟม NRR25dB ไม่มีสาย พร้อมกล่องจ่าย/ NRR25dB Foam Ear Plug with Dispenser
หมายเหตุ
- NRR หรือ Noise Reduction Rating คือ ค่าที่บ่งบอกความสามารถในการลดความดังเสียงของอุปกรณ์ป้องกันหู มีค่าเป็นเดซิเบล ซึ่งค่า NRR ที่ผู้ผลิตระบุ จะวัดภายใต้สภาพแวดล้อมในห้องทดลอง จึงมักสูงกว่าค่าที่วัดได้ในสภาพการใช้งานจริง ดังนั้นในการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน จะต้องเผื่อค่า NRR ไว้ โดยค่า NRR ในการใช้งานจริง = (ค่า NRR ที่ผู้ผลิตระบุ - 7) / 2
- อุปกรณ์ป้องกันหูชนิดที่เป็น Linear Attenuation คือ อุปกรณ์ที่มีค่า NRR เท่ากัน ในทุกช่วงความถี่เสียง
- จากการวิจัยพบว่า การใช้จุกเสียบหู (Ear Plug) ร่วมกับครอบหู (Ear Muff) จะสามารถลดเสียงที่ได้ยิน มากกว่าการใช้อุปกรณ์เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งถึง 10 - 15 เดซิเบล ซึ่งการใช้งานร่วมกันนี้ จะมีความจำเป็นเมื่อสภาวะแวดล้อมในการทำงานมีเสียงดังเกิน 105 เดซิเบล
- การใช้สำลีอุดหู จะสามารถลดเสียงได้เพียง 7 เดซิเบลเท่านั้น จึงไม่ถือว่าเป็นอุปกรณ์ป้องกันหู
ตัวอย่างระดับเสียง
ระดับเสียงที่ไม่อันตราย
0 เดซิเบล – เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน
30 เดซิเบล - เสียงกระซิบ
40 เดซิเบล : เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด
50 เดซิเบล : เสียงนกร้อง เสียงฝนตก เสียงของตู้เย็น
60 เดซิเบล : เสียงคนพูดคุยปกติ เสียงแอร์ เสียงเครื่องพิมพ์ดีด
70 เดซิเบล : เสียงในภัตตาคาร เสียงเครื่องดูดฝุ่น เสียงทีวี เสียงจักรเย็บผ้า
80 เดซิเบล : เสียงนาฬิกาปลุก เสียงการจราจร เสียงไดร์เป่าผม
ระดับเสียงที่อันตราย
90 เดซิเบล : เสียงเครื่องจักรในโรงงาน หรือเสียงรถบรรทุก เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงรถไฟฟ้าใต้ดิน เสียงรถมอเตอร์ไซค์ (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชม.)
100 เดซิเบล : เช่น เสียงเพลงดังๆ เสียงกล่องระเบิด
110 เดซิเบล : เช่น เสียงเด็กร้องไห้ เสียงตะโกนใส่หู เสียงแตรรถยนต์
115 เดซิเบล : เสียงเลื่อยไฟฟ้า หรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม : Pneumatic Drill (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 2 ชม.)
120 เดซิเบล : เช่น เสียงฟ้าผ่า เสียงจากคอนเสิร์ตร๊อค
130 เดซิเบล : เช่น เสียงขุดเจาะถนน
เสียงที่อันตรายร้ายแรง
140 เดซิเบลขึ้นไป : เช่น เสียงเครื่องบินกำลังจะขึ้นจากลานบิน เสียงยิงปืน และเสียงประทัด เสียงระเบิดหิน เสียงในร็อคคอนเสิร์ต หรือเสียงแตรรถยนต์ (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 15 นาที)
เสียงยิงปืน เสียงเครื่องบินเจ็ท ซึ่งเป็นเสียงที่ทำให้ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้ แม้จะได้ยินเพียงครั้งเดียวก็ตาม ดังนั้นผู้ที่จำเป็นต้องอยู่กับเสียงในระดับนี้ จะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ
|